ความรู้ที่ได้จากการเรียนวิชาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
-ได้รับความรู้จากเพลงที่อาจารย์เปิดให้ฟังว่าเพลงนี้ต้องการบอกอะไรเกี่ยวกับเด็ก
-ได้ความรู้จากที่อาจารย์ให้เล่นเกมส์ คือ ฝึกความสามัคคี การมีไหวพริบ คร่องแคร่วว่องไว ทักษะทางคณิตศาสตร์
-ได้รู้จักลักษณะนิสัยส่วนตัวของเพื่อนๆในห้อง และรู้ว่าเพื่อนมาจากจังหวัดไหนบ้าง
-บรรยากาศในห้องตอนแรกเรียนห้องเดิมเย็นสบาย แต่พอย้ายห้องอากาศร้อนมากๆ
Learning Materials for Early Childhood
แฟ้มสะสมงาน
เกี่ยวกับฉัน
- ชื่อ น.ส. อรอุมา ลาภปรากฎ ชื่อเล่นแฮ๊กกี้
- รหัส 5311212228 คณะศึกษาศาสตร์ เอกการศึกษาปฐมวัย กลุ่มเรียน 101 เลขที่ 24
วันพฤหัสบดีที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
บันทึกครั้งที่15
อาจารย์ได้ทบทวนเนื้อหาและความรู้ที่ได้รับในวิชา สื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยอาจารย์ให้ทบทวนว่าเราได้รับอะไรบ้างในการเรียนวิชานี้ทำให้ได้รู้หลายอย่างไม่ว่าจะเป็นการทำงานเป็นทีมการมีส่วนร่วมการเล่นเกมการศึกษาการทำBlog การนำของเหลือใช้มาประดิษฐ์ และอีกมากมายในการทำสื่อการสอนโดยใช้วัสดุเหลือใช้ให้กลายเป็นสื่อการสอนที่มีค่าเพราะไม่ว่าจะเป็นกล่องกระดาษ
บันทึกครั้งที่14
ขออนุญาตอาจารย์เพื่อไปทำกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป์ในรายวิชา การจัดประสบการณ์นาฏศิลป์และเพลงสำหรับเด็กปฐมวัย
บันทึกครั้งที่13
อาจารย์อธิบายวิธีการเกี่ยวกับการทำบล็อกและแนะนำวิธีการทำเกมการศึกษาให้แต่ละกลุ่ม
บันทึกครั้งที่12
อาจารย์ให้ดูหนังสือเรื่องของเกมการศึกษาเล่มนี้จะเป็นประโยชน์มากสำหรับนักศึกษา เพราะเป็นหนังสือที่เกี่ยวกับสื่อเกมการศึกษาทั้งหมด และได้บอกว่ามีประโยชน์มากในอนาคตเพราะเราสามารถนำไปทำเปนสื่อการสอนได้
บันทึกครั้งที่11
อาจารย์ได้อธิบายวิธีการทำสื่อการสอนสำหรับเด็กปฐมวัยและได้สอนเกี่ยวกับเกมการศึกษาว่าเกมการศึกษาควรที่จะส่งเสริมพัฒนาการให้แก่เด็กและอาจารย์ได้สอนวิธีการทำMindmapเรื่องเกมการศึกษา
บันทึกครั้งที่10
หมายเหตุ ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจรย์มีประชุม
บันทึกครั้งที่9
อาจารย์ได้พุดถึงการทำป้ายนิเทศที่เป็นสื่อการสอนเป็นหน่วยและได้แบ่งกลุ่มให้แต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษาโดยแบ่งกลุ่มๆละ8คนความรู้ที่ได้รับได้รุจักวิธีการเล่นเกมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างถูกต้องและได้รู้แนวทางการทำสื่อการสอนการเล่นเกมเพื่อนำไปจัดการสอนการทำกิจกรรม
บันทึกครั้งที่8
หมายเหตุ ไม่มีการเรียนการสอนเพราะเป็นการสอบปรายภาคของมหาวิทยาลัย
บันทึกครั้งที่7
อาจารย์ได้สอนทำปากที่สามารถขยับได้ด้วยกระดาษและทำสมุดเล่มเล็กด้วยกระดาษA4ธรรมดาทำให้มีหลายหน้าสามารถเก็บไว้ใช้เป็นสมุดโน้ตได้ใช้เป็นหนังสือนิทานได้นำไปใช้ปากที่ขยับได้สามารถนำมาเป็นสื่อการสอนได้โดยการนำไปใช้เล่านิทานหรือโดยวากรูปสัตว์ลงไปแล้วตัดเป็นรูปปากที่สามารถขยับได้
บันทึกครั้งที่6
ความรู้ที่ได้รับ-ได้รู้จักวิธีการนำเสนอโทษของสิ่งเสพติดในรูปแบบรณรงค์ทำให้ผู้รณรงค์และผู้รับฟังสนุกสนานไม่น่าเบื่อเหมือนวิธีการบรรยายที่ทำให้ง่วงนอนและไม่น่าฟัง-ได้รู้จักวิธีการทำสื่อในการสอนหน่วยต่างๆและเล่านิทานโดยภาพสามารถเปลี่ยนได้โดยการทำภาพหมุนและยังรู้จักทำให้ตัวละครเดินได้ทำให้เป็นภาพสื่อการสอนที่มีความสมจริงมากขึ้นสามารถนำไปใช้ในการประดิษฐ์สื่อการสอนในการสอนได้และยังรู้จักการประยุคนิทานธรรมดาให้มีรูปแบบการเล่าและมีภาพที่น่าสนใจมากขึ้น
บันทึกครั้งที่5
อาจาร์ยให้ร่วมทำกิจกรรมเดินรณรงค์โทษของสิ่งเสพติดโดยเดินรณรงค์ไปในมหาลัยจากตึกคณะศึกษาศาสตร์พร้อมร่วมกันร้องเพลงไปตลอดทางเดิน
บันทึกการเรียนรุ้ครั้งที่4
มีกิจกรรมบายสีของเอกร่วมกันขออนุญาติอาจารย์ไปทำกิจกรรม
บันทึกการเรียนรู้ที่ครั้ง3
อาจารย์ได้สอนทักษะทางด้านสังคมที่ทำให้เราได้รู้จักเพื่อนร่วมห้องที่มาจากหลากหลายและได้พูดคุยเกี่ยวกับการเรียนการสอนและได้ให้นักศึกษาทำกิจกรรมด้วยการฟังเพลงและให้บอกความรู้สึกว่ารู้สึกถึงอะไรและได้อะไรบ้างจากการฟังเพลงพร้อมทั้งร่วมกันแสดงความคิดเห็นในการทำกิจกรรมว่ารู้สึกถึงอะไรบ้างนำมาพูดคุยกันและอาจารย์ได้สั่งงานคือการให้แต่งเพลง1เพลง
ผลที่ได้รับทำให้เรารู้จักเพื่อนร่วมห้องมากขึ้นทำให้เราได้เรียนรู้ทักษะทางด้านสังคมในการรู้จักเพื่อนร่วมห้องว่าเป็นใครมาจากไหนจุดเด่นคืออะไรและในกิจกรรมทำให้เรารู้จักคิด
ผลที่ได้รับทำให้เรารู้จักเพื่อนร่วมห้องมากขึ้นทำให้เราได้เรียนรู้ทักษะทางด้านสังคมในการรู้จักเพื่อนร่วมห้องว่าเป็นใครมาจากไหนจุดเด่นคืออะไรและในกิจกรรมทำให้เรารู้จักคิด
บันทึกการเรียนรุ้ครั้งที่2
กิจกรรมรับน้องผลที่ได้รับจากการทำกิจกรรมพี่สู่น้องครั้งนี้-ทำให้มีความสามัคคี-เกิดความรักใคร่กลมเกลียว-เกิดความสัมพันธ์ที่ดีตอกัน-ทำให้ได้รู้จักกันมากขึ้น
สื่อการสอน
การทำสื่อการสอน
การทำสื่อการสอน
เกมการศึกษา
เกมการศึกษาเป็นของเล่นที่ช่วยให้ผู้เล่นเป็นผู้มีความสังเกต ช่วยให้สิ่งที่ควรจะได้เห็น เช่น เกมจับคุ่ภาพเพื่อให้เด็กได้ฝึกสังเกตสิ่งที่เหมือนกันหรือต่างกันอาจเป็นการเปรียบเทียบภาพต่างๆแล้วจัดเป็นคู่ๆ ตามจุดมุ่งหมายของเกมแต่ละชุดเพื่อเป็นพื้นฐานให้เด็กนำไปใช้ประโยชน์เมื่อเริ่ม อ่าน เขียน